ReadyPlanet.com
dot
dot
dot
ขั้นตอนการขอรับบริการกับ FQA
อัตราค่าธรรมเนียม การตรวจวิเคราะห์
วิธีการชำระเงิน
ดาวน์โหลดแบบฟอร์มต่างๆ
dot
dot
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Food Allergen
Link ภายนอกที่น่าสนใจ
กระทรวงสาธารณสุข
ศูนย์ข้อมูลการประกันคุณภาพห้องปฏิบัติการ
ศูนย์วิทยบริการ




Allergens to be listed on food labels

 

 Allergens to be listed on food labels

 

By Zhou Wenting (China Daily)

BEIJING - Starting in April, all manufacturers of prepackaged food will have to clarify substances that can caus­e allergies, according to a national regulation for food labels.

The new standard will be compulsory nationwide, and is the first time that the country has included allergens in food safety regulations, according to Fan Yongxiang, an official with the National Institute of Nutrition and Food Safety under the Chinese Center for Disease Control and Prevention.

Approximately 1 to 2 percent of adults and around 5 percent of infants and young children in the country suffer from food allergies, according to Sun Jianqin, director of the nutrition department at Shanghai-based Huadong Hospital affiliated to Fudan University.

China does not have statistics to show how life threatening food allergies are, but figures from the United States government revealed that each year roughly 30,000 individuals require emergency treatment, and 150 individuals die because of allergic reactions to food.

A food allergy is an adverse immune response to food protein. Sufferers usually show acute responses, including vomiting, diarrhea and bronchial asthma.

"It may cause death in severe cases," Sun said.

"Some people are allergic to certain foods in childhood, and improve when they grow older. But it may last a life time for others, so they'd better avoid the food," said Chen Yuzhi, a professor at the Clinical and Education Center for Asthma under the Capital Institute of Pediatrics.

She added that there is no cure for food allergies at present.

Eight major foods or food groups - wheat bran cereals, shellfish, fish, eggs, peanuts, soybeans, milk and tree nuts - account for most food allergies, and they are all included in the mandatory regulation.

"Different food products may be produced on the same production line, so it's possible that a very small amount of ingredients of one product may be brought to another even after the production line is cleaned," said Dong Jinshi, executive vice-president of the International Food Packaging Association.

"It could also be caused when two food materials, say chicken and fish, share one storage house," he said.

Shen Wei, father of a 7-year-old child who is allergic to fish, said such regulations may better protect children and other consumers who have food allergies.

"My son grows blotches and lumps on the skin and suffers a headache whenever he eats fish," said the 35-year-old Shanghai resident. "I think it's a big step forward to safeguard consumers' health and rights to be informed - if food businesses really follow the rule."

However, Chinese consumers and even market watchdogs at present are not familiar with labels about food allergies.

In August, Knorr Stock Pot, a bouillon product by consumer product giant Unilever, was removed from shelves in Guiyang and Changsha because of a message on its package reading: "This product may contain wheat, soybeans, eggs, dairy products and fish" was accused of being unclear and confusing.

"So it's important that the public know something about food packaging labels," Dong said. "And it will be more understandable to consumers if food companies rewrite the alert as 'people allergic to fish should be cautious about eating this'."

 

ขอขอบคุณข้อมูลจาก http://www.chinadaily.com.cn/china/2011-12/21/content_14298531.htm

 

 

 

สารก่อภูมิแพ้ที่ถูกระบุบนฉลากอาหาร

 

 

นเดือนเมษายนปีนี้ปักกิ่งเริ่มให้ผู้ประกอบการอาหารระบุสารที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ตามระเบียบฉลากอาหารแห่งชาติ และคุณ Fan Yongxiang ได้กล่าวว่ามาตรฐานใหม่นี้จะบังคับใช้ทั่วประเทศและเป็นครั้งแรกที่ประเทศจีนได้รวมสารก่อภูมิแพ้ในกฎระเบียบว่าด้วยความปลอดภัยอาหารของสถาบันทางด้านโภชนาการและความปลอดภัยอาหารแห่งชาติอย่างเป็นทางการภายใต้ศูนย์กลางการควบคุมและป้องกันโรคของจีน ตามที่คุณ Jianqin ซึ่งเป็นผู้อำนวยการฝ่ายโภชนาการของโรงพยาบาล Shanghai-based Huadong ร่วมกับมหาวิทยาลัย Fudan ได้รายงานว่าผู้ใหญ่ประมาณร้อยละ 1-2 ทารกและเด็กเล็กประมาณร้อยละ 5 ได้รับความทุกข์ทรมานจากการแพ้อาหาร ซึ่งประเทศจีนไม่มีสถิติของโรคภูมิแพ้อาหารที่อันตรายถึงชีวิต มีแต่สถิติที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้ประกาศเอาไว้ว่าพบผู้เข้ารับการรักษาในแผนกฉุกเฉินประมาณ 30,000 คน และมีผู้เสียชีวิตจากการแพ้อาหาร 150 คนในแต่ละปี

การแพ้อาหารเป็นการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันที่มีต่อโปรตีนในอาหาร โดยปกติผู้ป่วยจะแสดงอาการเฉียบพลันร่วมกับการอาเจียน ท้องเสีย และโรคหอบหืด ในบางรายที่มีอาการรุนแรงอาจถึงขั้นเสียชีวิต ศาสตราจารย์เฉิน  Yuzhi จากคลินิกและศูนย์การศึกษาโรคหอบหืดภายใต้กองทุนสถาบันกุมารเวชศาสต​​ร์ได้กล่าวว่าบางรายแพ้อาหารบางอย่างในวัยเด็กและเมื่ออายุมากขึ้นก็มีอาการดีขึ้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับช่วงอายุของแต่ละคน ดังนั้นทางที่ดีจึงควรหลีกเลี่ยงอาหารที่แพ้ เพราะปัจจุบันไม่มีวิธีการรักษาสำหรับผู้ที่แพ้อาหาร กลุ่มอาหารหลัก 8 ชนิดที่ก่อให้เกิดการแพ้ซึ่งต้องควบคุมคือธัญพืชจากข้าวสาลี หอย ปลา ไข่ ถั่วลิสง ถั่วเหลือง นม และถั่วเปลือกแข็ง

 

คุณ Dong Jinshi ซึ่งเป็นรองประธานบริหารของสมาคมอาหารบรรจุภัณฑ์ระหว่างประเทศกล่าวว่าผลิตภัณฑ์อาหารต่างชนิดกันอาจใช้สายการผลิตเดียวกัน ดังนั้นจึงเป็นไปได้ว่าอาจมีส่วนผสมปริมาณเพียงเล็กน้อยจากผลิตภัณฑ์หนึ่งปนเปื้อนเข้าไปในผลิตภัณฑ์อื่นได้ แม้ว่าจะมีการล้างสายการผลิตแล้ว และอาจเกิดจากการเก็บวัตถุดิบสองชนิด เช่น ไก่และปลาไว้ในตู้แช่เดียวกัน โดยคุณ Shen Wei ซึ่งเป็นบิดาของเด็กอายุ 7 ปีที่แพ้ปลากล่าวว่ากฎระเบียบนี้จะช่วยป้องกันเด็กและผู้บริโภคอื่นที่แพ้อาหารได้ ซึ่งลูกชายก็มีรอยที่ผิวเป็นก้อนและปวดศีรษะทุกครั้งที่บริโภคปลา นอกจากนี้ผู้พักอาศัยในเซี่ยงไฮ้ที่มีอายุ 35 ปีกล่าวว่าการออกกฎระเบียบนี้เป็นขั้นตอนของการเดินหน้าเพื่อการป้องกันสุขภาพของผู้บริโภคให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง โดยผู้ประกอบการอาหารต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตามผู้บริโภคชาวจีนและตลาดผู้ผลิตปัจจุบันไม่คุ้นเคยกับฉลากของอาหารที่ก่อให้เกิดอาการแพ้ ดังเช่นเมื่อเดือนสิงหาคมผลิตภัณฑ์น้ำซุปเนื้อ Knorr Stock Pot จากบริษัท Unilever ซึ่งเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ได้ถูกเก็บออกจากชั้นวางในเมืองกุ้ยหยางและฉางชา เนื่องจากข้อมูลในฉลากระบุว่าผลิตภัณฑ์นี้อาจมีส่วนผสมของข้าวสาลี ถั่วเหลือง ไข่ นมและผลิตภัณฑ์จากปลา ซึ่งอาจทำให้สับสนและไม่มีความชัดเจน และคุณ Dong กล่าวว่าเป็นเรื่องสำคัญที่ประชาชนควรรู้เกี่ยวกับฉลากบนบรรจุภัณฑ์อาหารและควรมีข้อความที่ผู้บริโภคเข้าใจได้ง่าย โดยบริษัทผลิตอาหารควรเขียนเตือนใหม่ เพื่อให้ผู้แพ้ปลาระวังการบริโภคกับผลิตภัณฑ์นี้

 

 

ขอขอบคุณข้อมูลจาก http://www.chinadaily.com.cn/china/2011-12/21/content_14298531.htm

 

 




บทความน่ารู้ 1

สารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant)
การดูแล บำรุงรักษา ตู้น้ำหยอดเหรียญ ในช่วงการเกิด COVID-19
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารวิตามินซี สามารถป้องกันโรคโควิด-19 จริงหรือ ?
รู้จัก "น้ำด่าง" ก่อนดื่ม
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เฝ้าระวังความปลอดภัยอาหารช่วงเทศกาลกินเจ
3 วิธีง่ายๆลดสารพิษตกค้างในผักสด ผลไม้
ผงชูรส ชูร้าย
"วุ้นเส้น" พลังงานน้อยกว่าเส้นชนิดอื่นจริงหรือ?
ลดคอเลสเตอรอลป้องกันสารพัดโรค
สัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” (Healthier Choice) ทางเลือกที่ดีกว่า
โซเดียมแฝง
วิธีจัดการร้านอาหารปลอดไวรัส COVID-19
ปริมาณโซเดียมและโพแทสเซียมในเครื่องดื่มเกลือแร่
อะฟลาทอกซินในกระยาสารท
สารกันบูดในกานาฉ่าย
ส่งท้ายปี 2561 เลือกทานอาหารอย่างปลอดภัย (ตอน 2)
ไขมันอิ่มตัวกับไม่อิ่มตัว
เชื้อก่อโรคกับน้ำดื่มจากตู้หยอดเหรียญ
ฉลากโภชนาการประโยชน์ที่ไม่ควรมองข้าม
เตือนภัยกิน “แมงลักแคปซูล” ลดอ้วนถึงตาย
เชื้อก่อโรคในน้ำสลัด
อย.เตือนระวังการบริโภค น้ำดื่ม น้ำแข็ง และไอศกรีม ช่วงหน้าร้อน
ตาสวยด้วยผักหวาน
ลูกเดือยธัญพืชดีๆ
เมนูปลาไทยกินกินดี
แอลฟา-แล็คตัลบูมิน
Health food for food
เติมสารอาหารให้อาหารด้วยไข่
สารก่อภูมิแพ้ที่ระบุบนฉลากอาหาร article