ReadyPlanet.com
dot
dot
dot
ขั้นตอนการขอรับบริการกับ FQA
อัตราค่าธรรมเนียม การตรวจวิเคราะห์
วิธีการชำระเงิน
ดาวน์โหลดแบบฟอร์มต่างๆ
dot
dot
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Food Allergen
Link ภายนอกที่น่าสนใจ
กระทรวงสาธารณสุข
ศูนย์ข้อมูลการประกันคุณภาพห้องปฏิบัติการ
ศูนย์วิทยบริการ




ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในวุ้นเส้นสด

 ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในวุ้นเส้นสด

 

วุ้นเส้นหรือเส้นแกงร้อน อาหารจากพืชที่นำมาปรุงเป็นเมนูอาหารได้หลากหลายทั้งก๋วยเตี๋ยว ผัดไทย ยำวุ้นเส้น แกงจืด กุ้งอบวุ้นเส้น ปัจจุบันเราหาซื้อวุ้นเส้นทั้งสดและอบแห้งได้จากตลาดและซุปเปอร์มาร์เกตเพื่อนำมาใช้ปรุงอาหารเองที่บ้าน โดยเฉพาะวุ้นเส้นสดแค่เปิดซองก็นำมาปรุงได้ทันที ทว่าสิ่งหนึ่งที่ต้องระวังเวลาซื้อหาวุ้นเส้นมาทาน คือการตกค้างของสารฟอกขาวหรือซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ที่ผู้ผลิตนิยมใช้เพื่อกันเสียและยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาสีน้ำตาลในอาหารจำพวกเส้นที่ทำจากแป้ง เช่น วุ้นเส้น เส้นก๋วยเตี๋ยว เส้นหมี่ สารชนิดนี้กฎหมายอนุญาตให้ใช้ในอาหารได้ตามชนิดและปริมาณที่กำหนดเพราะหากเราได้รับซัลเฟอร์ไดออกไซด์เข้าสู่ร่างกายจากการทานอาหารในปริมาณที่มากเกินไป จะทําให้เกิดอาการปวดท้อง ท้องร่วง เวียนศีรษะ อาเจียน ช็อก หมดสติและในผู้ที่แพ้มากหรือเป็นโรคหอบหืดอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้

 

 

 

ด้วยเหตุนี้จึงได้เก็บตัวอย่างวุ้นเส้นสดจำนวน 5 ตัวอย่าง จาก 5 ยี่ห้อ ที่วางขายในซุปเปอร์มาร์เก็ตและตลาดในเขตกรุงเทพฯ และ จ.ราชบุรี เพื่อนำมาวิเคราะห์ปริมาณซัลเฟอร์ไดออกไซด์ตกค้าง ผลปรากฏว่าพบซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในวุ้นเส้นสดทั้ง 5 ตัวอย่าง แต่พบในปริมาณที่ยังไม่เกินกฎหมายกำหนด ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 418 พ.ศ.2563 กำหนดให้วุ้นเส้นสดมีซัลเฟอร์ไดออกไซด์ตกค้างได้ไม่เกิน 250 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เห็นผลวิเคราะห์อย่างนี้แล้วทานวุ้นเส้นสดอย่างสบายใจกันได้

ที่มา : https://www.thairath.co.th/lifestyle/food/2421011#aWQ9NjI2YTRhM2FkZWI5NzkwMDEzNjQNzkw3JnBvcz0yJnJ1bGU9MA==




บทความน่ารู้ 2

รอบรู้เรื่องไข่ กินแล้วดีมีประโยชน์
แอฟลาทอกซิน สารพิษจากเชื้อราในอาหารแห้ง
เลือกบริโภคอย่างฉลาดด้วยฉลาก หวาน มัน เค็ม
อย. ตรวจพบกรดเบนโซอิกเกินค่าความปลอดภัย ในโบโลน่าแซนวิช
อันตรายจากสารปนเปื้อนในน้ำดื่ม
มารู้จักฟอร์มาลีนกันเถอะ
อย. เตือนระวังการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพที่มีส่วนประกอบของกระท่อม
อย. ตรวจพบปริมาณแคดเมียมเกินมาตรฐาน ในผลิตภัณฑ์ปลาหมึกกล้วยแช่แข็ง
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เฝ้าระวังอาหารปลอดภัยช่วงเทศกาลกินเจ
สารกันบูดในอาหาร
กรมวิทย์ฯ เผยผลตรวจอาหาร น้ำ และเครื่องดื่มจากอาศรมฤาษีพระบิดาที่ จ.ชัยภูมิ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เผยน้ำมะพร้าวมีคุณค่าทางโภชนาการสูง
กรมอนามัย เตือน กินปลาหมึกชอต ระวัง ‘แบคทีเรีย-พยาธิ’ แนะปรุงสุกทุกครั้งปลอดภัยกว่า
ทำความรู้จักอันตรายในอาหาร
กัญชา กัญชงที่ผลิตในประเทศ ส่วนไหนเป็น - ส่วนไหนไม่เป็นยาเสพติด
รับประทานซีอิ๊วขาวมีโซเดียมน้อยกว่าน้ำปลา จริงหรือ?
กัญชา VS กัญชง
โซเดียม
อย. แนะนำดื่มน้ำเปล่ามีประโยชน์ต่อร่างกายที่สุด
กาเฟอีน ปริมาณสูง อันตราย
โคลิฟอร์มแบคทีเรีย ศัตรูตัวร้าย แฝงอันตรายในน้ำใส
อย. เตือน "ซูชิเรืองแสง" อาจเกิดจากการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์
บังคับใช้กฎหมาย"ไขมันทรานส์"ดีเดย์ 9ม.ค.62 ชาติแรกในอาเซียน
สารพิษโบทูลินัม และเชื้อคลอสตริเดียม โบทูลินัม ในน้ำปลา
สุ่มตรวจช็อกโกแลต พบสารปนเปื้อนตะกั่ว
เชื้อก่อโรคใน ก๋วยเตี๋ยวลุยสวน
ข้อมูลอาหารที่มีสารก่อภูมิแพ้สำหรับอาหารที่ไม่อยู่ในภาชนะบรรจุ
เชื้อก่อโรคในซูชิ
น้ำตาลที่ซ่อนอยู่
ขมิ้นขาวช่วยระบบย่อยไม่ดี
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความคงตัวของ Anthocyanin
ไอศกรีมโฮมเมด
เช็คสัญญาณอาหารหมดอายุ
สุดยอดอาหารเพื่อสมองปราดเปรื่อง
อะไรเอ๋ยอยู่ในน้ำ ?
ลดเสี่ยงติดเชื้อหน้าร้อน ยึดหลัก 'มีอยู่-เหลือรอด-ปนเปื้อนและเจริญของเชื้อโรค'
อาหารออร์แกนิค ,,,ดีจริงหรือ?