ReadyPlanet.com
dot
dot
dot
ขั้นตอนการขอรับบริการกับ FQA
อัตราค่าธรรมเนียม การตรวจวิเคราะห์
วิธีการชำระเงิน
ดาวน์โหลดแบบฟอร์มต่างๆ
dot
dot
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Food Allergen
Link ภายนอกที่น่าสนใจ
กระทรวงสาธารณสุข
ศูนย์ข้อมูลการประกันคุณภาพห้องปฏิบัติการ
ศูนย์วิทยบริการ




เกลือ (โซเดียมคลอไรด์)

 

             โซเดียมเป็นแร่ธาตุชนิดหนึ่งที่แฝงอยู่ในอาหารทุกชนิดที่เรารับประทาน โดยมีปริมาณมากน้อยแตกต่างกัน อาหารที่มีโซเดียมน้อย เช่น ข้าว แป้ง ผักสด ผลไม้สด เนื้อสัตว์ไม่ปรุงแต่ง 
ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีปริมาณโซเดียมสูง อาทิ เครื่องปรุงที่มีรสเค็ม ผงฟู สารกันบูด น้ำพริก อาหารแปรรูป อาหารกระป๋อง และอาหารหมักดอง เนื่องจากหากบริโภคโซเดียมในปริมาณที่

มากเกินไปจะส่งผลให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา อาทิ โรคไต ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และ โรคหัวใจและหลอดเลือด 
คำแนะนำสำหรับการเลือกบริโภคอาหารที่มีโซเดียมต่ำ
- เลือกซื้ออาหารที่มีโซเดียมน้อยกว่า 140 มิลลิกรัมต่อหนึ่งหน่วยบริโภค
- เลือกรับประทานอาหารตามธรรมชาติด งดการปรุงแต่ง 
- หลีกเลี่ยงอาหารที่เก็บรักษาไว้ได้นาน เนื่องจากมีส่วนผสมของเกลือและสารกันบูด
-
หลีกเลี่ยงอาหารแปรรูป อาหารกระป๋อง อาหารสำเร็จรูป เนื้อสัตว์แดดเดียว และอาหารกลุ่มน้ำพริก

 

 

ขอบคุณข้อมูลจาก :  https://www.facebook.com/ThaiRedCross/




บทความน่ารู้ 3

โซเดียมในเครื่องปรุงรส เติมมากไป...ไตสะเทือน
ร้อนนี้ เลือกรับประทาน ไอศกรีม-น้ำแข็ง อย่างไร?
น้ำตาลเทียม
อย. ตรวจพบปริมาณแคดเมียมเกินมาตรฐานในผลิตภัณฑ์หนวดปลาหมึกแช่แข็ง รุ่นการผลิต 220511056H
โคราชสุ่มตรวจร้านหมูกระทะ พบปลาหมึกกรอบปนเปื้อนฟอร์มาลินมากที่สุด
บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป กินอย่างไรให้เหมาะสม
คอลลาเจน มีดีที่อะไร
กรมวิทย์ฯ ตรวจเฝ้าระวังปริมาณไนเตรทและไนไตรท์ในผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเนื้อสัตว์
เตือนอาหารกระป๋องบวมบุบเป็นสนิม เสี่ยงมีเชื้อโบทูลินั่ม
“กาบา” สารอาหารในเมล็ดข้าว
คอเลสเทอรอลในน้ำพริกกากหมู
ปริมาณโซเดียมในบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
น้ำปลาลดโซเดียม
ลดเค็มครึ่งหนึ่งคนไทยห่างไกลโรค
สารให้ความหวานในน้ำผลไม้ ใส่อะไร ใส่แค่ไหน ปลอดภัยกว่า
วิตามินซีในอาหารหรือเครื่องดื่มผสมวิตามินซี
กินอย่างไรให้ปลอดภัยในยุคโควิด-19
หวานน้อย...สั่งได้ ไม่เสียสุขภาพ
4 ผัก ผลไม้ ไฟเบอร์สูง
3 วิธีง่ายๆ ลดสารพิษตกค้าง ในผักสด ผลไม้
4 ข้อแนะนำ การจัดการน้ำบริโภค ในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)
ข่าวปลอม !! บริโภคผักไฮโดรโปนิกส์เสี่ยงเป็นมะเร็ง
แคดเมียมในพริกแกงเผ็ด
เชื้อก่อโรคในผักโขมสดนำเข้า
สารกันบูดกับขนมไหว้พระจันทร์
สารตกค้างในลำไยอบแห้ง
ลอดช่องน้ำกะทิกับเชื้อก่อโรค
ดินประสิวกับกุนเชียง
ประกาศกระทรวงฉบับที่ 367
ประโยชน์มะตูมดียังไง
แอสต้าแซนธินสารต้านอนุมูลอิสระธรรมชาติ
จิบแล้วเพรียว ดื่มแล้วพอแน่
อร่อยทุกมื้อไม่กลัวพุงป่อง
ช็อกโลก สำหรับคนชอบของหวาน
อันตรายจากสารปรอท
มารู้จักเทศกาลกินเจกันดีกว่า
คุณค่าโภชนาการอาหารออร์แกนิก